เครื่องคำนวณ
เครื่องคำนวณ

ลดภาษีใครๆก็ทำได้

ขั้นตอนที่ 1
เช็ครายได้ของคุณ
ขั้นตอนที่ 2
เช็คค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว
ขั้นตอนที่ 3
เช็คค่าลดหย่อนภาษี
ขั้นตอนสุดท้าย
ผลสรุปของคุณ
คุณมีรายได้ต่อปีเท่าไหร่?*
Baht
คุณมีเงินได้ที่ได้รับยกเว้นอื่นๆเท่าไหร่?
ดูรายละเอียดที่สรรพากรคลิก
Baht
คุณได้ลงทุนในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไปเท่าไหร่?
Baht
สถานภาพของคุณ
แล้วคู่สมรสของคุณมีรายได้หรือไม่?
ค่าใช้จ่ายฝากครรภ์และค่าคลอดบุตร
Baht
ภาระรับผิดชอบพ่อแม่ของคุณ
ภาระรับผิดชอบพ่อแม่ของคู่สมรส
ภาระรับผิดชอบบุตรอายุไม่เกิน 25 ปี
คนที่ 1 เกิด พ.ศ
คนที่ 2 เกิด พ.ศ
คนที่ 3 เกิด พ.ศ
คนที่ 4 เกิด พ.ศ
คนที่ 5 เกิด พ.ศ
ภาระรับผิดชอบผู้พิการ/บุคคลไร้ความสามารถ
คุณจ่ายเงินค่าประกันสังคมไปเท่าไหร่?
Baht
ปีนี้คุณจ่ายเบี้ยประกันชีวิตหรือไม่?
เบี้ยประกันชีวิตทั่วไป
Baht
เบี้ยประกันสุขภาพ
Baht
เบี้ยประกันชีวิตบำนาญของคุณ
Baht
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา
Baht
คุณได้ลงทุนในกองทุน SSF ไปเท่าไหร่?
Baht
คุณได้ลงทุนในกองทุน SSF พิเศษ ไปเท่าไหร่?
Baht
คุณได้ลงทุนในกองทุน RMF ไปเท่าไหร่?
Baht
คุณจ่ายดอกเบี้ยสินเชื่อบ้านไปเท่าไหร่?
Baht
คุณได้รับการลดหย่อนภาษีอื่นๆ อีกหรือไม่
Baht
คุณบริจาคเพื่อการศึกษา/กีฬา/โรงพยาบาลรัฐไปเท่าไหร่?
Baht
แล้วการบริจาคอื่นๆ อีกเท่าไหร่?
Baht
ภาษีที่คุณต้องจ่ายหลังหักค่าลดหย่อนฯ ประมาณ
0.00 บาท
รายละเอียด
เงินได้สุทธิ อัตราภาษี ภาษีสะสมของแต่ละขั้น ภาษีที่ต้องชำระ
- 150,000 0% - 0
150,001 300,000 5% 7,500 0
300,001 500,000 10% 20,000 0
500,001 750,000 15% 37,500 0
750,001 1,000,000 20% 50,000 0
1,000,001 2,000,000 25% 250,000 0
2,000,001 5,000,000 30% 900,000 0
5,000,001 ไม่จำกัด 35% 0
ผลรวม 0
อัตราภาษีของคุณอยู่ที่
0.00%
ภาษีที่คุณจ่ายคิดเป็น 0.0% ของรายได้ทั้งหมด
ภาษีที่ประหยัดไปได้ประมาณ
0.00 บาท
เงินลงทุนเพื่อลดหย่อน
  • ลงทุนเพิ่มได้อีก
  • ลงทุนไปแล้ว
หากคุณไม่มีค่าลดหย่อนฯ ภาษีที่คุณต้องจ่ายทั้งหมดประมาณ 0.0 บาท
หมายเหตุ
• เงินบริจาคเกี่ยวกับเงินบริจาคเพื่อการศึกษา การกีฬา โรงพยาบาลรัฐ หักได้ 2 เท่าของเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 10% ของรายได้หลังหัก A, B และ C และเงินบริจาคอื่นๆหักได้ไม่เกิน 10% ของรายได้หลังหัก A, B, C และเงินบริจาคการศึกษา
• เงินสะสมรวมใน กองทุนรวม RMF ประกันชีวิตแบบบำนาญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) กองทุนการออมแห่งชาติ(กอช.) และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
• ค่าประกันชีวิตแบบบำนาญสามารถหักลดหย่อนได้ไม่เกินไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้ แต่ไม่เกิน สอง แสนบาท และวงเงินเบี้ยประกันชีวิตหนึ่งแสนบาทแรกที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิ สามารถนำมาใช้ลดหย่อนเพิ่มที่ค่าเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้
คำเตือน
ข้อมูลนี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเป็นแนวทางในการคำนวณภาษีเบื้องต้นเท่านั้น โดยธนาคารไม่ขอรับรองความถูกต้องและความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล และผลลัพธ์ รวมทั้งสูตรการคำนวณต่างๆที่ปรากฎในข้อมูลนี้ • ข้อมูลนี้ไม่สามารถใช้เพื่อยืนยันในการยื่นภาษีได้ • ขอให้ผู้สนใจศึกษากฎระเบียบหรือสิทธิประโยชน์ต่างๆ จากคู่มือภาษีหรือเอกสารอื่นๆที่ออกโดยกรมสรรพากร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ธนาคารขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขข้อมูล รวมทั้งสูตรการคำนวณนี้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหา